รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน
รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน (อังกฤษ: The SRT Red Lines Suburban Mass Transit System, Light Red Line) หรือ รถไฟชานเมืองสายตะวันออก-ตะวันตก (นครปฐม–ฉะเชิงเทรา) เป็นหนึ่งโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในรูปแบบรถไฟชานเมือง อันเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) เป็นโครงการระบบรถไฟฟ้าที่มีโครงสร้างทั้งทางยกระดับ ระดับดิน และใต้ดิน มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศตะวันตก-ตะวันออกของกรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากนครปฐม ถึงชุมทางฉะเชิงเทรา โดยที่แนวเส้นทางทั้งหมดอยู่ในเขตทางรถไฟเดิมของการรถไฟแห่งประเทศไทยเส้นทางสายนี้เกิดขึ้นจากการรวมเส้นทางรถไฟชานเมืองสายตะวันตก (หัวลำโพง-นครปฐม) และรถไฟชานเมืองสายตะวันออก (หัวลำโพง-ชุมทางฉะเชิงเทรา) เข้าด้วยกันตามแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง มีระยะทางในส่วนเส้นทางสายหลักทั้งหมด 117.5 กิโลเมตร[note 1] และเส้นทางสายแยกเพิ่มเติมอีก 6.5 กิโลเมตรโครงการรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน ส่วนแรกได้ดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จตั้งแต่ พ.ศ. 2554 แต่ไม่สามารถเปิดดำเนินการได้ในทันที เนื่องจากต้องรอการก่อสร้างอาคารสถานีกลางบางซื่อและการสั่งซื้อระบบรถไฟฟ้า ซึ่งทั้งหมดเป็นสัญญาว่าจ้างของการก่อสร้างเส้นทางในสายสีแดงเข้ม โดยโครงการเปิดทดลองให้บริการเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2564 พร้อมกับรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม และกำหนดเปิดให้บริการเต็มรูปแบบในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน โดยมี บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด เป็นผู้ให้บริการชั่วคราวจนกว่าจะได้เอกชนดำเนินการ

รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน

ขบวนรถ ฮิตาชิ ซีรีส์ 2000 (คลาส 2000)
รูปแบบ รถไฟรางหนัก
ระบบจ่ายไฟ 25 kV AC จ่ายไฟฟ้าเหนือหัว
แผนที่เส้นทาง
แผนที่เส้นทาง

กม.
รฟท. สายตะวันออก
ฉะเชิงเทรา
บางเตย
คลองบางพระ
คลองแขวงกลั่น
เปรง
คลองอุดมชลจร
คลองหลวงแพ่ง
หัวตะเข้ (พระจอมเกล้าลาดกระบังฯ)
เชื่อม 3 สนามบิน: อู่ตะเภา
สุวรรณภูมิ
ลาดกระบัง
บ้านทับช้าง
สีเหลือง ศรีกรีฑา – กลันตัน
หัวหมาก
รามคำแหง
คลองตัน
มักกะสัน
( เออาร์แอล: ราชปรารภ)
แม่น้ำ
คลองเตย
เพลินจิต
สายสีแดงอ่อน: แม่น้ำ
พญาไท
สายสีแดงเข้ม: หัวลำโพง
ราชวิถี
( สายสีแดงเข้ม: สามเสน)
0 บางซื่อ (สถานีกลาง)
ศูนย์ซ่อมบำรุง
เออาร์แอล: ดอนเมือง
สายสีแดงเข้ม: ดอนเมือง
(รถไฟสายเหนือ/ตะวันออกเฉียงเหนือ)
บางซ่อน
พระราม 6
แม่น้ำเจ้าพระยา
บางกรวย-(กฟผ.)
ธนบุรี-ศิริราช
จรัญสนิทวงษ์
บางบำหรุ
คลองบางกอกน้อย
ตลาดน้ำตลิ่งชัน
สายสีแดงอ่อน: ธนบุรี
ตลิ่งชัน
ส่วนต่อขยายด้านตะวันตก
บ้านฉิมพลี
ศาลาธรรมสพณ์
ศาลายา
คลองมหาสวัสดิ์
วัดงิ้วราย
นครชัยศรี
ท่าแฉลบ
ศูนย์ซ่อมบำรุงย่อยท่าแฉลบ
ต้นสำโรง
นครปฐม
(รถไฟสายใต้)
แผนภาพนี้:
อาณัติสัญญาณ ETCS Level1
เจ้าของ การรถไฟแห่งประเทศไทย
จำนวนสถานี 3 (ปัจจุบัน) 22 (โครงการ)
ระบบ รถไฟชานเมือง
สถานะ เปิดให้บริการ
ความเร็ว ความเร็วสูงสุด160 km/h (99 mph)
ความเร็วบริการ110 km/h (68 mph) (เฉพาะสายสีแดงอ่อน)
เปิดเมื่อ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
ที่ตั้ง นครปฐม, นนทบุรี, กรุงเทพมหานคร, ฉะเชิงเทรา
รางกว้าง 1.000 เมตร
ระยะทาง ปัจจุบัน 15 กม. (9.32 ไมล์) จากโครงการ 127.5 กม. (79.22 ไมล์)
จำนวนทางวิ่ง 2
ศูนย์ซ่อมบำรุง ศูนย์ซ่อมบำรุง โรงรถจักรไฟฟ้าบางซื่อ
ปลายทาง ชุมทางฉะเชิงเทรา (โครงการ) , สถานีกลางบางซื่อ (ปัจจุบัน)
นครปฐม (โครงการ) , ชุมทางตลิ่งชัน (ปัจจุบัน)
ผู้ดำเนินงาน บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.จำกัด
(สัญญาจ้างเดินรถปีต่อปี)

แหล่งที่มา

WikiPedia: รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน http://www.bkkmrtmasterplan.com http://www.youtube.com/watch?v=Glc2PE63lk8 http://www.railway.co.th/resultproject/images/map_... http://www.railway.co.th/resultproject/project_red... https://web.archive.org/web/20130518232233/http://... https://web.archive.org/web/20150924084532/http://... https://en.wikipedia.org/wiki/European_Train_Contr... https://www.infoquest.co.th/2020/8706